รัฐบาลไทย มอบให้กระทรวงสาธารณสุข จัดหายา เว็บตรงฝากถอนไม่มีขั้นต่ำ Favipiravir โดยสั่งซื้อจาก 2 แหล่งหลักคือญี่ปุ่นและจีน รวมแล้วกว่า 2.87 แสนเม็ด กระจายให้กับโรงพยาบาลในเขตกรุงเทพและปริมณฑล และ 12 เขตสุขภาพ รักษาผู้ป่วยโควิด-19 องค์การเภสัชกรรมพร้อมจัดหาเพิ่มอย่างต่อเนื่อง
นายแพทย์วิฑูรย์ ด่านวิบูลย์ ผู้อำนวยการองค์การเภสัชกรรม
เปิดเผยว่า รัฐบาลไทยมอบให้กระทรวงสาธารณสุข จัดหายาฟาวิพิราเวียร์ (Favipiravir) ซึ่งเป็นยาสำคัญสำหรับผู้ติดเชื้อโควิด -19 มีแหล่งผลิตอยู่ 2 แหล่งหลัก คือญี่ปุ่นเจ้าของลิขสิทธิ์และจีนซึ่งได้รับลิขสิทธิ์จากญี่ปุ่น รวมได้รับยามาแล้ว 87,000 เม็ด โดย เมื่อ 24 กุมภาพันธ์ 2563 กรมควบคุมโรคได้นำเข้ายาจากประเทศญี่ปุ่นจำนวน 5,000 เม็ด เมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2563 รัฐบาลจีนได้บริจาคให้รัฐบาลไทยจำนวน 2,000 เม็ด เมื่อ 12 มีนาคม 2563 กรมควบคุมโรคนำเข้ายาจากประเทศญี่ปุ่นจำนวน 40,000 เม็ด ส่งมอบให้สถาบันบำราศนราดูร ,กรมการแพทย์ ,โรงพยาบาลใน 12 เขตสุขภาพแล้ว และเมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2563 องค์การเภสัชกรรมได้จัดซื้อจากญี่ปุ่น 40,000 เม็ด ส่งให้โรงพยาบาลราชวิถี 18,000 เม็ด เพื่อกระจายให้กับโรงพยาบาลในเขตกรุงเทพและปริมณฑล และ 12เขตสุขภาพ จำนวน 18,000 เม็ด เพื่อจัดสรรให้กับโรงพยาบาลศูนย์ทั่วประเทศเป็นที่เรียบร้อยแล้วเช่นกัน เหลือไว้สำรองสำหรับจัดสรรกรณีจำเป็นเร่งด่วนอีกจำนวน 4,000 เม็ด
ปัจจุบันได้มีการใช้ยาฟาวิพิราเวียร์ กับผู้ป่วยแล้ว จำนวน 515 ราย ใช้ไปแล้ว 48,875 เม็ดเหลืออยู่ 38,126 เม็ด สามารถมีใช้ได้อย่างต่อเนื่องอีกถึง 4-5 เดือน ล่าสุดเมื่อปลายเดือนมีนาคม 2563 องค์การเภสัชกรรม ได้สั่งซื้อจากจีนและญี่ปุ่นเพิ่ม 200,000 เม็ด โดยจะมีการจัดส่งยาภายในเดือนเมษายนนี้ รวมแล้ว 287,000 เม็ด และจะมีการสั่งซื้อเพื่อสำรองเพิ่ม
“การจัดหายาต้านไวรัสในครั้งนี้ มีความยากลำบากเนื่องจากเป็นที่ต้องการของทุกประเทศ ต้องใช้การดำเนินการทุกวิถีทาง ทั้งการเจรจาผ่านสถานฑูตญี่ปุ่นและจีน ทั้งในแง่ของการซื้อและบริจาคมาโดยตลอด เพื่อสวัสดิภาพ ความปลอดภัยของพี่น้องประชาชนชาวไทยเราไม่รอเด็ดขาด ส่วนกรณีข่าวญี่ปุ่นจะบริจาคยาให้ 30 ประเทศนั้น ในเบื้องต้นทราบว่าญี่ปุ่นจะบริจาคสำหรับโครงการวิจัยเท่านั้น ซึ่งทั้งนี้หากประเทศใดต้องการบริจาคยาประเทศไทยยินดีรับการสนับสนุน เพื่อให้มียาช่วยรักษาชีวิตของประชาชนชาวไทยอย่างเร่งด่วน” นายแพทย์วิฑูรย์ กล่าว
และเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2563 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลามีหนังสือ แจ้งว่าผู้โดยสารเดินทางกับขบวนรถด่วนพิเศษทักษิณที่ 37 ในวันที่ 30 มีนาคม 2563 เป็นผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 เบื้องต้น
ผมถือว่าเป็นการแก้ปัญหาน้ำแล้ง “เร่งด่วน” ได้อย่างตรงจุด ไปพร้อมๆ กับการเตรียม “น้ำต้นทุน” ไว้ใช้ในอนาคต ปีถัดๆ ไป ซึ่งรัฐบาลได้น้อมนำพระปฐมบรมราชโองการ “เราจะสืบสาน รักษา และต่อยอด และครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุข แห่งอาณาราษฎรตลอดไป” ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มาสู่การปฏิบัติ ทั้งโครงการตามแนวทางพระราชดำริและโครงการสำคัญๆ เช่น การจัดทำแก้มลิง ฝนหลวง และการจัดหาแหล่งน้ำ เป็นต้น โดยรัฐบาลได้ยกระดับการทำงานจาก “ศูนย์อำนวยการน้ำเฉพาะกิจ” ให้เป็น “กองอำนวยการน้ำแห่งชาติ” ซึ่งมอบหมายรองนายกรัฐมนตรี (พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ) เป็นผู้อำนวยการฯ กำกับดูแลการทำงานของ 4 กระทรวงหลักที่เกี่ยวข้อง ทำงานร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และภาคเอกชน อย่างบูรณาการกัน เพื่อให้การช่วยเหลือและแก้ปัญหาน้ำแล้ง เป็นไปในทิศทางเดียวกัน
การรถไฟฯ ได้ดำเนินการตามมาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข ดังนี้
1. การรถไฟฯ ร่วมกับนายอำเภอ และสาธารณสุขอำเภอทับสะแก ทำความสะอาดและพ่นยาฆ่าเชื้อภายในรถโดยสารคันดังกล่าวครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2563 แล้ว ขณะนี้กักรถโดยสารคันดังกล่าว
อบยาก่อนทำความสะอาด และพ่นยาฆ่าเชื้อโรคครั้งที่ 2 อีกครั้งก่อนออกให้บริการ
2. ดำเนินการตามมาตรการป้องกันโรคโดยการแจ้งรายชื่อผู้โดยสารร่วมในรถคันดังกล่าว
จำนวน 15 คน ให้สาธารณสุขจังหวัดสงขลาติดตามดำเนินการต่อไป
3. ดำเนินการกักตัวพนักงานที่มีประวัติสัมผัสใกล้ชิดผู้เสียชีวิต ได้แก่ พนักงานสถานีรถไฟชุมทางบางซื่อจำนวน 2 นาย พนักงานรักษาความปลอดภัยของเอกชนจำนวน 1 นาย พนักงานขบวนรถจำนวน 7 นาย ตำรวจรถไฟประจำขบวน 1 นาย
4. ทำความสะอาดฆ่าเชื้อที่สถานีชุมทางบางซื่อ และสถานีทับสะแก เรียบร้อยแล้ว
สำหรับมาตรการป้องกันเชื้อไวรัสโควิด-19 นั้น การรถไฟฯ ได้มีการคัดกรองการตรวจวัดอุณหภูมิก่อนใช้บริการที่สถานีรถไฟทุกครั้ง หากพบอุณหภูมิสูงกว่า 37.5 องศาเซลเซียส ขอให้ผู้โดยสารหลีกเลี่ยงการเดินทาง หากจําเป็นต้องเดินทางขอให้มีใบรับรองแพทย์แสดง และกรอกแบบประเมินและรับรองตนเองเพื่อคัดกรองและยืนยันตนก่อนการเดินทาง นอกจากนี้ ได้ข้อความร่วมมือในกลุ่มคนที่มีความเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อ เช่น ผู้ใช้บริการที่มีอายุตั้งแต่ 70 ปีขึ้นไป กลุ่มคนที่มีโรคประจําตัว และกลุ่มเด็กเล็กที่มีอายุต่ำกว่า 5 ปีลงมา ควรงดการเดินทาง เว้นแต่บุคคลกลุ่มดังกล่าวมีความจําเป็นตามข้อกําหนดออกตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชกําหนดการบริหารราชการใน สถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 ลงวันที่ 25 มีนาคม 2563
สำหรับกรณีเรือสำราญ Westerdam เป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยง กระทรวงสาธารณสุขจึงมีมาตรการ 2 ส่วน 1.กรณีคนไทยกลับบ้านมีการดูแลติดตามเฝ้าระวังต่อเนื่องจนครบ 14 วันตามมาตรฐานป้องกันควบคุมโรค หากจะเดินทางต่อมีการคัดกรองก่อนขึ้นเครื่องหากมีไข้ไม่อนุญาตให้ขึ้นเครื่อง และส่งเข้ารักษาตามระบบ สล็อตเว็บตรง , ฝากถอนไม่มีขั้นต่ำ เว็บตรง